แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑
วิชา นาฏศิลป์ ๒                                                                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑  การละคร                                                     เวลา  ๒  ชั่วโมง
 


๑.   เป้าหมายการเรียนรู้
        รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการละครตะวันออก
๒.  สาระสำคัญ
        ละครมีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์มาช้านาน ส่วนใหญ่การเกิดละครของแต่ละชาติมักจะมาจาก
การบวงสรวงบูชาเทพเจ้าและเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์
๓.  มาตรฐานและตัวชี้วัด
        มาตรฐาน ศ ๓.  เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
        ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
        มฐ. ศ ๓.๒ (๓) อธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลต่อเนื้อหาของละคร
๔.  สาระการเรียนรู้
        การละครตะวันออก
๕.  จุดประสงค์การเรียนรู้

K (Knowledge)
ความรู้ ความเข้าใจ
P (Practice)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
อธิบายลักษณะของการละคร
ตะวันออกได้

รู้จักและบอกลักษณะของ
การละครตะวันออก
๑.  รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒.   ซื่อสัตย์สุจริต
๓.   มีวินัย
๔.  ใฝ่เรียนรู้
๕.   อยู่อย่างพอเพียง
๖.   มุ่งมั่นในการทำงาน
๗.   รักความเป็นไทย
๘.   มีจิตสาธารณะ




๖.  การวัดและประเมินผล
        ๑.  เครื่องมือวัดและประเมินผล
            ๑)  แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน            ๒)  แบบทดสอบ
            ๓)  ใบงาน                                        แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
            ๕)  แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล             แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
            ๗)  แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
        ๒.  วิธีวัดผล
            ๑)  ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน      ๒)  ตรวจแบบทดสอบ
            ๓)  ตรวจใบงาน                                  ๔)  สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
            ๕)  สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล                   สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
            ๗)  สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
        ๓.  เกณฑ์การวัดและประเมินผล
            ๑)  สำหรับชั่วโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่าน เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบ
กับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน
            ๒)  การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
            ๓)  การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนำไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
            ๔)  การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน
คือ เกินร้อยละ ๕๐
            ๕)  การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่อง
ปรับปรุง
            ๖)  การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
            ๗)  การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗.  หลักฐาน/ผลงาน
        ๑.  ผลการทำแบบทดสอบ                            ๒.   ผลการทำใบงาน
๘.  กิจกรรมการเรียนรู้
        ชั่วโมงที่ ๑-๒
        ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
        ๑)  นักเรียนรับฟังคำชี้แจงเนื้อหาวิชาและการปฏิบัติตนในการเรียนวิชา นาฏศิลป์ ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ สำหรับการวัดผลประเมินผลจะมีวิธีการกำหนดให้นักเรียนปฏิบัติ
ตามแบบที่กำหนด นักเรียนซักถามข้อปัญหารวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนวิชานี้
        ๒)  ครูชี้แจงวิธีการประเมินสมรรถนะของนักเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน
ว่าจะต้องทำควบคู่กับกระบวนการทำกิจกรรมกลุ่ม และครูจะดูพัฒนาการของนักเรียน
ไปตลอดภาคการศึกษา
        ๓)  ครูชี้แจงกำหนดค่าระดับคะแนน ตามเกณฑ์ดังนี้
             คะแนนร้อยละ                    ๘๐-๑๐๐         ได้เกรด  ๔
             คะแนนร้อยละ                    ๗๕-๗๙           ได้เกรด  ๓.๕
             คะแนนร้อยละ          ๗๐-๗๔           ได้เกรด  ๓
             คะแนนร้อยละ          ๖๕-๖๙           ได้เกรด  ๒.๕
             คะแนนร้อยละ          ๖๐-๖๔           ได้เกรด  ๒
             คะแนนร้อยละ          ๕๕-๕๙           ได้เกรด  ๑.๕
             คะแนนร้อยละ                    ๕๐-๕๔           ได้เกรด  ๑
             คะแนนร้อยละ                    ๐-๔๙             ได้เกรด  ๐                
        ๔)  ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
        ขั้นสอน
        ๕)  ครูให้ความรู้เรื่อง การละครตะวันออก
        ๖)         ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน จับฉลากตามหัวข้อต่อไปนี้ (เนื้อหาหน้า ๓-๙)
             การละครอินเดีย               การละครญี่ปุ่น          การละครจีน
             การละครเขมร                 การละครพม่า
                 เพื่อศึกษาค้นคว้าความรู้เรื่อง การละครตะวันออก ตามหัวข้อที่จับฉลากได้จากแบบเรียน
เอกสาร ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีครูคอยให้คำแนะนำ
        ๗)  ครูคอยสังเกตขณะนักเรียนปฏิบัติงาน และเสนอแนะ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง ดังต่อไปนี้
             การวางแผนการทำงาน
             ปฏิบัติงานตามแผน
             ประเมินผลการทำงานของกลุ่ม
             นักเรียนร่วมกันประเมินผลการทำงานเป็นกลุ่ม
        ๘)  นักเรียนออกมานำเสนอผลงานกลุ่ม
        ขั้นสรุปและการประยุกต์
        ๙)  ครูแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นักเรียนนำเสนอ
        ๑๐)  ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำคัญเรื่อง การละครตะวันออก เพื่อให้เข้าใจร่วมกัน
ครูสังเกตสมรรถนะของนักเรียนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
        ๑๑)  นักเรียนทำกิจกรรมตามใบงานที่ ๑.๑ และ ๑.๒
        ๑๒)  ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน

๙.  สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
        ๑.  หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์
        ๒.  หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ นาฏศิลป์ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์
๑๐.  การบูรณาการ
        บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนำเสนอรายงาน
        บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ได้แก่ การวาดภาพระบายสี
        บูรณาการกับเศรษฐกิจพอเพียง ในเรื่องการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การร่วมมือและการฟังความคิดเห็นในการทำงานกลุ่มร่วมกับผู้อื่น

























แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว
  ๑.  ผู้สร้างตำรานาฏยเวทของอินเดียคือใคร
       ก.   พระศิวะ          ข.   พระพรหม          .   พระนารายณ์       .   พระวิษณุกรรม
       ใช้คำตอบต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ ๒-
       .   กถัก               .   กถกฬิ               ค.   มณีปุรี               .   ภารตนาฏยัม
  ๒นาฏศิลป์ของอินเดียประเภทใดที่ใช้ผู้ชายแสดง.......................
  ๓ข้อใดเป็นการแสดงที่มีลีลาจังหวะเท้าที่รวดเร็วตามตำรานาฏยศาสตร์ของพระภรตฤๅษี.........
  ๔การแสดงใดที่เป็นการผสมระหว่างวัฒนธรรมฮินดูและมุสลิม................
  ๕การแสดงใดที่นิยมแสดงหมู่และมีการร่ายรำที่ช้า.....................
  ๖ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการเกิดนาฏศิลป์ของจีน
       .   การบูชาบรรพบุรุษ                         .   การบูชาเพื่อฉลองชัย
       .   พิธีกรรมทางศาสนา                        .   พิธีการขอความอุดมสมบูรณ์
  ๗ในการแสดงอุปรากรจีน สีใดหมายถึงความดี
       .   ดำ                 .   แดง                 .   เหลือง               .   น้ำตาล
       ใช้คำตอบต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ ๘-๑๐
       .   ละครโนะ         .   ละครคาบูกิ         .   ละครเคียวเง็น      .   ละครหุ่นบุนรากุ
  ๘ละครใดที่มีการใส่หน้ากาก......................
  ๙การแสดงใดเป็นที่นิยมแพร่หลายที่สุด ใช้หุ่นในการสื่อความหมาย.......................
๑๐.   ละครใดที่มีลักษณะคล้ายจำอวดของไทย.....................








เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
๑. ข
๒.  ข
๓.  ง
๔.  ก
๕.  ค
๖.  ก
๗.  ค
๘.  ก
๙.  ง
๑๐.  ค






ใบงานที่  ๑.๑
เรื่อง  การละครตะวันออก
ชื่อ...................................................นามสกุล...................................................เลขที่..................ชั้น.....................
ตัวชี้วัด  :  สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้  มฐ.  ศ  ๓.๒  (๓)
กิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่มให้นักเรียน  บอกลักษณะของการละครตะวันออกได้
คำชี้แจง  :  ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดเรื่องการละครตะวันออก







































คำถามพัฒนากระบวนการคิด
คำชี้แจง  ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้อง
๑.      การละครอินเดียเกิดขึ้นได้อย่างไร
.......................................................................................................................................................................
๒.      นาฏศิลป์อินเดียที่แสดงอย่างแพร่หลายมีกี่ชนิด  อะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๓.      ละครญี่ปุ่นมีกำเนิดมาจากสิ่งใด
.......................................................................................................................................................................
๔.      ลักษณะเด่นของละครโนะคืออะไร
.......................................................................................................................................................................
๕.      ลักษณะเด่นของนาฏศิลป์ชวาคืออะไร
.......................................................................................................................................................................


















 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑
วิชา นาฏศิลป์ ๒                                                                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑  การละคร                                                     เวลา  ๒  ชั่วโมง
 

๑.   เป้าหมายการเรียนรู้
        รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการละครตะวันออก
๒.  สาระสำคัญ
        ละครมีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์มาช้านาน ส่วนใหญ่การเกิดละครของแต่ละชาติมักจะมาจาก
การบวงสรวงบูชาเทพเจ้าและเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์
๓.  มาตรฐานและตัวชี้วัด
        มาตรฐาน ศ ๓.  เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
        ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
        มฐ. ศ ๓.๒ (๓) อธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลต่อเนื้อหาของละคร
๔.  สาระการเรียนรู้
        การละครตะวันออก
๕.  จุดประสงค์การเรียนรู้

K (Knowledge)
ความรู้ ความเข้าใจ
P (Practice)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
อธิบายลักษณะของการละคร
ตะวันออกได้

รู้จักและบอกลักษณะของ
การละครตะวันออก
๑.  รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒.   ซื่อสัตย์สุจริต
๓.   มีวินัย
๔.  ใฝ่เรียนรู้
๕.   อยู่อย่างพอเพียง
๖.   มุ่งมั่นในการทำงาน
๗.   รักความเป็นไทย
๘.   มีจิตสาธารณะ




๖.  การวัดและประเมินผล
        ๑.  เครื่องมือวัดและประเมินผล
            ๑)  แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน            ๒)  แบบทดสอบ
            ๓)  ใบงาน                                        แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
            ๕)  แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล             แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
            ๗)  แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
        ๒.  วิธีวัดผล
            ๑)  ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน      ๒)  ตรวจแบบทดสอบ
            ๓)  ตรวจใบงาน                                  ๔)  สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
            ๕)  สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล                   สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
            ๗)  สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
        ๓.  เกณฑ์การวัดและประเมินผล
            ๑)  สำหรับชั่วโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่าน เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบ
กับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน
            ๒)  การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
            ๓)  การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนำไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
            ๔)  การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน
คือ เกินร้อยละ ๕๐
            ๕)  การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่อง
ปรับปรุง
            ๖)  การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
            ๗)  การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗.  หลักฐาน/ผลงาน
        ๑.  ผลการทำแบบทดสอบ                            ๒.   ผลการทำใบงาน
๘.  กิจกรรมการเรียนรู้
        ชั่วโมงที่ ๑-๒
        ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
        ๑)  นักเรียนรับฟังคำชี้แจงเนื้อหาวิชาและการปฏิบัติตนในการเรียนวิชา นาฏศิลป์ ๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ สำหรับการวัดผลประเมินผลจะมีวิธีการกำหนดให้นักเรียนปฏิบัติ
ตามแบบที่กำหนด นักเรียนซักถามข้อปัญหารวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนวิชานี้
        ๒)  ครูชี้แจงวิธีการประเมินสมรรถนะของนักเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน
ว่าจะต้องทำควบคู่กับกระบวนการทำกิจกรรมกลุ่ม และครูจะดูพัฒนาการของนักเรียน
ไปตลอดภาคการศึกษา
        ๓)  ครูชี้แจงกำหนดค่าระดับคะแนน ตามเกณฑ์ดังนี้
             คะแนนร้อยละ                    ๘๐-๑๐๐         ได้เกรด  ๔
             คะแนนร้อยละ                    ๗๕-๗๙           ได้เกรด  ๓.๕
             คะแนนร้อยละ          ๗๐-๗๔           ได้เกรด  ๓
             คะแนนร้อยละ          ๖๕-๖๙           ได้เกรด  ๒.๕
             คะแนนร้อยละ          ๖๐-๖๔           ได้เกรด  ๒
             คะแนนร้อยละ          ๕๕-๕๙           ได้เกรด  ๑.๕
             คะแนนร้อยละ                    ๕๐-๕๔           ได้เกรด  ๑
             คะแนนร้อยละ                    ๐-๔๙             ได้เกรด  ๐                
        ๔)  ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
        ขั้นสอน
        ๕)  ครูให้ความรู้เรื่อง การละครตะวันออก
        ๖)         ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน จับฉลากตามหัวข้อต่อไปนี้ (เนื้อหาหน้า ๓-๙)
             การละครอินเดีย               การละครญี่ปุ่น          การละครจีน
             การละครเขมร                 การละครพม่า
                 เพื่อศึกษาค้นคว้าความรู้เรื่อง การละครตะวันออก ตามหัวข้อที่จับฉลากได้จากแบบเรียน
เอกสาร ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีครูคอยให้คำแนะนำ
        ๗)  ครูคอยสังเกตขณะนักเรียนปฏิบัติงาน และเสนอแนะ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง ดังต่อไปนี้
             การวางแผนการทำงาน
             ปฏิบัติงานตามแผน
             ประเมินผลการทำงานของกลุ่ม
             นักเรียนร่วมกันประเมินผลการทำงานเป็นกลุ่ม
        ๘)  นักเรียนออกมานำเสนอผลงานกลุ่ม
        ขั้นสรุปและการประยุกต์
        ๙)  ครูแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นักเรียนนำเสนอ
        ๑๐)  ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำคัญเรื่อง การละครตะวันออก เพื่อให้เข้าใจร่วมกัน
ครูสังเกตสมรรถนะของนักเรียนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
        ๑๑)  นักเรียนทำกิจกรรมตามใบงานที่ ๑.๑ และ ๑.๒
        ๑๒)  ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน

๙.  สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
        ๑.  หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์
        ๒.  หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ นาฏศิลป์ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์
๑๐.  การบูรณาการ
        บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนำเสนอรายงาน
        บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ได้แก่ การวาดภาพระบายสี
        บูรณาการกับเศรษฐกิจพอเพียง ในเรื่องการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การร่วมมือและการฟังความคิดเห็นในการทำงานกลุ่มร่วมกับผู้อื่น

























แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว
  ๑.  ผู้สร้างตำรานาฏยเวทของอินเดียคือใคร
       ก.   พระศิวะ          ข.   พระพรหม          .   พระนารายณ์       .   พระวิษณุกรรม
       ใช้คำตอบต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ ๒-
       .   กถัก               .   กถกฬิ               ค.   มณีปุรี               .   ภารตนาฏยัม
  ๒นาฏศิลป์ของอินเดียประเภทใดที่ใช้ผู้ชายแสดง.......................
  ๓ข้อใดเป็นการแสดงที่มีลีลาจังหวะเท้าที่รวดเร็วตามตำรานาฏยศาสตร์ของพระภรตฤๅษี.........
  ๔การแสดงใดที่เป็นการผสมระหว่างวัฒนธรรมฮินดูและมุสลิม................
  ๕การแสดงใดที่นิยมแสดงหมู่และมีการร่ายรำที่ช้า.....................
  ๖ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการเกิดนาฏศิลป์ของจีน
       .   การบูชาบรรพบุรุษ                         .   การบูชาเพื่อฉลองชัย
       .   พิธีกรรมทางศาสนา                        .   พิธีการขอความอุดมสมบูรณ์
  ๗ในการแสดงอุปรากรจีน สีใดหมายถึงความดี
       .   ดำ                 .   แดง                 .   เหลือง               .   น้ำตาล
       ใช้คำตอบต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ ๘-๑๐
       .   ละครโนะ         .   ละครคาบูกิ         .   ละครเคียวเง็น      .   ละครหุ่นบุนรากุ
  ๘ละครใดที่มีการใส่หน้ากาก......................
  ๙การแสดงใดเป็นที่นิยมแพร่หลายที่สุด ใช้หุ่นในการสื่อความหมาย.......................
๑๐.   ละครใดที่มีลักษณะคล้ายจำอวดของไทย.....................








เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
๑. ข
๒.  ข
๓.  ง
๔.  ก
๕.  ค
๖.  ก
๗.  ค
๘.  ก
๙.  ง
๑๐.  ค






ใบงานที่  ๑.๑
เรื่อง  การละครตะวันออก
ชื่อ...................................................นามสกุล...................................................เลขที่..................ชั้น.....................
ตัวชี้วัด  :  สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้  มฐ.  ศ  ๓.๒  (๓)
กิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่มให้นักเรียน  บอกลักษณะของการละครตะวันออกได้
คำชี้แจง  :  ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดเรื่องการละครตะวันออก







































คำถามพัฒนากระบวนการคิด
คำชี้แจง  ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้อง
๑.      การละครอินเดียเกิดขึ้นได้อย่างไร
.......................................................................................................................................................................
๒.      นาฏศิลป์อินเดียที่แสดงอย่างแพร่หลายมีกี่ชนิด  อะไรบ้าง
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๓.      ละครญี่ปุ่นมีกำเนิดมาจากสิ่งใด
.......................................................................................................................................................................
๔.      ลักษณะเด่นของละครโนะคืออะไร
.......................................................................................................................................................................
๕.      ลักษณะเด่นของนาฏศิลป์ชวาคืออะไร
.......................................................................................................................................................................


















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น